การแบ็คอัพและเรียกคืนข้อมูล

การแบ็คอัพและเรียกคืนข้อมูล เป็นความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์

การแบ็คอัพและเรียกคืนข้อมูล เป็นความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์

การแบ็คอัพและเรียกคืนข้อมูล เป็นพื้นฐานสำคัญที่ควรรู้

1. ปิดคอมพิวเตอร์และถอดปลั๊กไฟฟ้า (Power Cord)จากแหล่งจ่ายไฟฟ้าให้เรียบร้อย

2. ถ้าหากเป็นเครื่องพีซีให้ถอดฝาด้านข้างออกและตรวจเช็กคาปาซิเตอร์เมนบอร์ด พร้อมทั้งทำความสะอาดแรม

3. สำหรับเครื่องโน้ตบุ๊คให้ถอดฝาด้านหลังเครื่องตำแหน่งแรมและทำความสะอาดแรมส่วนตัวคาปาซิเตอร์บนเมนบอร์ดของเครื่องโน้ตบุ๊คจะเป็นคนละชนิดกับคาปาซิเตอร์บนเมนบอร์ดของเครื่องพีซี ดังนั้น จึงไม่จำเป็นต้องตรวจเช็กแต่มีกรณีที่คอมพิวเตอร์ยังอยู่ในประกัน ห้านถอดฝาข้างหรือด้านหลังออกเป็นอันขาดแนะนำให้นำคอมพิวเตอร์ไปให้ร้านซ่อมคอมพิวเตอร์ตรวจเช็กดีกว่า

4. ให้เปิด Control Panel ขึ้นมา จากนั้นในช่อง Search ให้ค้นหาคำว่าmemory และคลิกเลือกเมนู Diagnose your computer’smemory problemsเมื่อปรากฏหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Windows Memory Diagnostic ให้คลิกเมนูRestart now and check for problems ระบบก็จะรีสตาร์ทและทำการตรวจเช็กแรม

ถ้าหากแรมไม่มีปัญหา ก็จะปรากฎข้อความ No Problems have been detectedyet ให้คุณทราบ แต่ถ้าหากแรมมีปัญหา ก็ถึงเวลาที่ต้องเปลี่ยนแรมใหม่บูตคอมพิวเตอร์ช้า ติดตั้งวินโดวส์ไม่ได้ปัญหานี้ส่วนมากมักมีสาเหตุจากการปิดคอมพิวเตอร์ไม่ถูกวิธีฮาร์ดดิสก์ถูกกระทบกระเทือน และไฟกระชาก

จึงส่งผลให้กลไกทางด้านกายภาพของฮาร์ดดิสก์เกิดความเสียหาย ตัวอย่างเช่นหัวอ่าน/เขียนพัง และจานดิสก์เก็บข้อมูลเกิด BadSector เป็นต้นซึ่งส่งผลให้ความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลบนฮาร์ดดิสก์ช้าลงดังนั้นการปิดคอมพิวเตอร์ให้ถูกวิธี การติดตั้งยึฮาร์ดดิสก์ให้แน่นหรือระวังเวลาที่ขนย้ายคอมพิวเตอร์

หรือการใช้อุปกรณ์อย่างยูพีเอสเป็นแหล่งจ่ายไฟฟ้าให้กับคอมพิวเตอร์เพื่อป้องกันไฟกระชาก และการตรวจเช็กและซ่อมแซมฮาร์ดดิสก์อยู่เสมอจะช่วยป้องกันปัญหานี้ได้


ขั้นตอนการตรวจเช็ก และแก้ปัญหาบูตคอมพิวเตอร์ช้า ติดตั้งวินโดวส์ไม่ได้

สำหรับเครื่องมือในการตรวจเช็ก และซ่อมแซมฮาร์ดดิสก์แนะนำให้ใช้เครื่องมือ Error-Checking ที่มาพร้อมกับตัววินโดวส์

1. เปิดคอมพิวเตอร์ เพื่อเข้าสู่หน้าวินโดวส์ ในหน้าวินโดวส์ให้ดับเบิลคลิก My Computer หรือ Computer จากนั้นให้คลิกขวาบนไดรฟ์ C และคลิกเลือกเมนูProperties

2. เมื่อปรากฏหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Drive C Properties ให้คลิกแท็บ Tools ในหัวข้อ Error-checking ให้คลิกปุ่ม Check now