49 แพลตฟอร์มออนไลน์ Netflix , Google , FaceBook ยอมขึ้นทะเบียนเสียภาษีในไทย

       49 แพลตฟอร์มออนไลน์ ก่อนหน้านี้ทางรัฐมนตรีของไทยได้มีการประชุมกันเกี่ยวกับบริษัทข้ามชาติทีมีการสร้างแพลตฟอร์มออนไลน์ มาให้คนไทยได้เข้าไปใช้งานโดยมีการเรียกเก็บค่าบริการรายเดือน แต่แพลตฟอร์มเหล่านั้นได้กำไรจากการเปิดให้บริการกับคนไทย แต่ไม่ได้มีการเสียภาษีให้กับประเทศไทย

ทำให้รัฐบาลมองว่าในแต่ละเดือนประเทศไทยต้องเสียเงินให้กับบริษัทข้ามชาติเยอะมาก และจึงเป็นที่มาของการประชุมกัน เพื่อปรึกษากันว่าจะมีการเรียกเก็บภาษีกับแพลตฟอร์มจากบริษัทข้ามชาติเหล่านี้ เพื่อนำเงินภาษีมาบริหารประเทศ 

           หลังจากที่มีมติเป็นเอกฉันท์แล้ว จึงได้มีการยื่นหนังสือไปที่ผู้บริหารของบริษัทข้ามชาติที่เป็นเจ้าของแพลตฟอร์มชื่อดังทั้งหลาย ซึ่งมีจำนวนทั้งสิ้น 49 แพลตฟอร์มออนไลน์ ด้วยกัน แต่มีเจ้าของเป็นบริษัทข้ามชาติเพียง 15 บริษัทเท่านั้นสำหรับแพลตฟอร์มออนไลน์ของบริษัทข้ามชาติที่มาดูดเงินคนไทยอยู่ในตอนนี้และได้รับการติดต่อให้เข้ามายื่นเรื่องขึ้นทะเบียนการเสียภาษี เช่น  Netflix , Google , FaceBook , อเมซอน อีเบย์ , YouTube  เป็นต้น

       อย่างไรก็ตามหลังจากที่มีการแจ้งไปทางบริษัทข้ามชาติทั้ง 5 บริษัทปรากฏว่าได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีซึ่งทั้ง 15 บริษัทนั้นยินยอมที่จะเข้ามาทำการลงทะเบียนการเสียภาษีให้กับประเทศไทยด้วยภาษีมูลค่าเพิ่มนั้นจะมีการเรียกเก็บที่ 7 เปอร์เซ็นต์ซึ่งเป็นไปตามข้อกฎหมายของการดำเนินเกี่ยวกับธุรกิจอีคอมเมิร์ซด้วยการเสียภาษีในครั้งนี้จะมีการติดต่อกับทางกรมสรรพากร

ซึ่งหลังจากที่มีการดำเนินการเสร็จเรียบร้อยในเรื่องของคนอื่นสารกรมสรรพากรก็จะมีการส่งการเรียกเก็บการเสียภาษีของบริษัทข้ามชาติที่มีการเปิดแผ่นฟอร์มออนไลน์ในประเทศไทยทั้งหมด 49  แพลตฟอร์มได้นับตั้งแต่วันที่ 1 เดือนกันยายนปี.พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป 

          อย่างไรก็ตามหลังจากที่หลายคนทราบเกี่ยวกับเรื่องของกรมสรรพากรจะมีการเรียกเก็บภาษีจากทางแพลตฟอร์มออนไลน์เหล่านี้ก็มีความหวาดกลัวเกิดขึ้นว่าเมื่อมีการเรียกเก็บภาษี 7 เปอร์เซ็นต์แล้วควรจะต้องเสียค่าใช้จ่ายจริงๆแล้วอาจจะไม่ใช่เจ้าของผู้ให้บริการแพลตฟอร์มแต่จะกลายเป็นประชาชนที่มีการใช้งานแอปพลิเคชันดังกล่าวแทน

โดยทางแอพพลิเคชั่นอาจจะต้องมีการเรียกเก็บค่าบริการรายเดือนเพิ่มเพื่อนำไปเรียกเก็บในเรื่องของการเสียภาษีซึ่งในต่างประเทศนั้นการเรียกเก็บภาษี eservice มีมานานแล้วและบาง Application นั้นก็มีการผลักภาระการเสียภาษีดังกล่าวให้กับผู้ใช้บริการในขณะที่บาง Application นั้นก็ยินยอมที่จะเสียภาษีให้กับผู้ใช้บริการเองซึ่งมันขึ้นอยู่กับว่าเจ้าของธุรกิจนั้นต้องการที่จะลองจ่ายเองหรือจะให้ผู้ใช้งานเป็นคนจ่ายเงินเอง 

 

สนับสนุนเรื่องราวโดย.  เครดิตฟรี gclub